องค์กรภาคสังคม

ImpactCreator

ภาคสังคม

ธุรกิจที่เริ่มต้นบนความแตกต่าง ...
เริ่มต้นจาก ความตั้งใจ จากใจที่อยากเห็นโลกนี้ดีกว่าเดิม
เริ่มต้นจาก การแบ่งปัน การส่งต่อโอกาสให้กับเพื่อนร่วมโลก ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือพืช
เริ่มต้นจาก ความกล้า แม้จะเริ่มจากเสียงของคนๆ เดียว หรือคนกลุ่มเดียว
เริ่มต้นจาก ความเชื่อ ในพลังของความดี ณ วันนี้ เราเชิดชูทุกความดี เรามองหาแนวร่วม คนที่คิดเหมือนๆ เรา คนที่อยากสร้างปรากฎการณ์ด้านดีให้กับโลกใบนี้ เพราะเชื่อเสมอว่า “ความดี ยังไงก็คือ ความดี” เป็นเรื่องที่ควรบอกต่อ ชวนทุกคนมาต่อยอด เพราะสักวันหนึ่ง เราจะได้เห็นดีกัน....
"

บริษัท เจ-ราจา ธุรกิจเพื่อสังคม จำกัด

ให้บริการเป็นตัวแทนลูกหนี้ในการเจรจาหนี้กับเจ้าหนี้สถาบันการเงิน เพื่อหาแนวทางการชำระหนี้อย่างเหมาะสม ให้ลูกหนี้ได้มีทางเลือกในการตัดสินใจ โดยใช้กระบวนการทางกฎหมายและการเงิน เป็นเครื่องมือสำหรับการแก้ไขปัญหา รวมถึงการให้บริการตรวจสุขภาพหนี้ส่วนบุคคล และให้บริการจัดอบรมความรู้เรื่องหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้หลุดพ้นจากปัญหาหนี้ได้อย่างยั่งยืน

บริษัท เจ-ราจา ธุรกิจเพื่อสังคม จำกัด

ให้บริการเป็นตัวแทนลูกหนี้ในการเจรจาหนี้กับเจ้าหนี้สถาบันการเงิน เพื่อหาแนวทางการชำระหนี้อย่างเหมาะสม ให้ลูกหนี้ได้มีทางเลือกในการตัดสินใจ โดยใช้กระบวนการทางกฎหมายและการเงิน เป็นเครื่องมือสำหรับการแก้ไขปัญหา รวมถึงการให้บริการตรวจสุขภาพหนี้ส่วนบุคคล และให้บริการจัดอบรมความรู้เรื่องหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้หลุดพ้นจากปัญหาหนี้ได้อย่างยั่งยืน

453 ผู้เข้าชม

เลิร์นดู

ธุรกิจให้บริการด้านการศึกษาเพื่อตอบโจทย์อาชีพ ในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมให้เด็กๆสร้างอาชีพ สร้างธุรกิจชุมชนได้อย่างยั่งยืน เป็นการเรียนรู้ที่นำไปใช้ได้จริง โดยเน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ เรียนรู้ STEAM ผ่านธรรมชาติ และสร้างทักษะฐานสมรรถนะ โดยเป็นการทำกระบวนการร่วมกับชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกับการหารายได้ ที่มีการนำนวัตกรรมเข้ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม ตอบโจทย์โลกยุค AI

เลิร์นดู

ธุรกิจให้บริการด้านการศึกษาเพื่อตอบโจทย์อาชีพ ในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมให้เด็กๆสร้างอาชีพ สร้างธุรกิจชุมชนได้อย่างยั่งยืน เป็นการเรียนรู้ที่นำไปใช้ได้จริง โดยเน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ เรียนรู้ STEAM ผ่านธรรมชาติ และสร้างทักษะฐานสมรรถนะ โดยเป็นการทำกระบวนการร่วมกับชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกับการหารายได้ ที่มีการนำนวัตกรรมเข้ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม ตอบโจทย์โลกยุค AI

511 ผู้เข้าชม

ห้างหุ้นส่วนจำกัด เฮซ ฟรี

Haze Free Social Enterprise วิสาหกิจเพื่อสังคมไร้ควัน เริ่มต้นจากงานวิจัยใน โครงการวิจัย“ประเทศไทยไร้หมอกควัน”ชุดโครงการย่อยที่1“การปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินและการออกแบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตรเพื่อลดการเกิดหมอกควัน”
จากงานวิจัย พบว่า พื้นที่เผาไหม้ 3-9 ล้านไร่ ผู้ป่วยจากฝุ่นควันใน 9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ปีละ 0.3 ล้านคน นักท่องเที่ยวลดลง 6 ล้านคนต่อปี ขาดรายได้ปีละ 10,000 ล้านบาท CSR “ปลูกป่า ไม่ได้ป่า”

เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรโดยไม่พึ่งพาการเผาซึ่งโครงการวิจัยนี้ได้นำร่องในพื้นที่จังหวัดน่านและพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่โดยมีการนำกระบวนการรับรองมาตรฐานแบบมีส่วนร่วม(Participatory Guarantee System : PGS) มาเป็นกรอบในการดำเนินงานเพื่อปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินและทำการเกษตรแบบไม่พึ่งพาไฟโดยพีจีเอสเป็นการรับประกันคุณภาพผลผลิตอินทรีย์ 

ซึ่ง 
Haze Free Social Enterprise มีเป้าหมาย

  • ปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินจากเกษตรเชิงเดี่ยว “เป็นระบบเกษตรยั่งยืนสามารถสร้างรายได้ในระยะสั้น และระยะยาว” แก่เกษตรกรทั่วภาคเหนือ
  • ป้องกันการเกิดและลุกลามไฟป่าในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน ให้ได้ 10,000 ไร่ ภายใน ปี 2570
ห้างหุ้นส่วนจำกัด เฮซ ฟรี

Haze Free Social Enterprise วิสาหกิจเพื่อสังคมไร้ควัน เริ่มต้นจากงานวิจัยใน โครงการวิจัย“ประเทศไทยไร้หมอกควัน”ชุดโครงการย่อยที่1“การปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินและการออกแบบห่วงโซ่อุปทานทางการเกษตรเพื่อลดการเกิดหมอกควัน”
จากงานวิจัย พบว่า พื้นที่เผาไหม้ 3-9 ล้านไร่ ผู้ป่วยจากฝุ่นควันใน 9 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ปีละ 0.3 ล้านคน นักท่องเที่ยวลดลง 6 ล้านคนต่อปี ขาดรายได้ปีละ 10,000 ล้านบาท CSR “ปลูกป่า ไม่ได้ป่า”

เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรโดยไม่พึ่งพาการเผาซึ่งโครงการวิจัยนี้ได้นำร่องในพื้นที่จังหวัดน่านและพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่โดยมีการนำกระบวนการรับรองมาตรฐานแบบมีส่วนร่วม(Participatory Guarantee System : PGS) มาเป็นกรอบในการดำเนินงานเพื่อปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินและทำการเกษตรแบบไม่พึ่งพาไฟโดยพีจีเอสเป็นการรับประกันคุณภาพผลผลิตอินทรีย์ 

ซึ่ง 
Haze Free Social Enterprise มีเป้าหมาย

  • ปรับเปลี่ยนการใช้ที่ดินจากเกษตรเชิงเดี่ยว “เป็นระบบเกษตรยั่งยืนสามารถสร้างรายได้ในระยะสั้น และระยะยาว” แก่เกษตรกรทั่วภาคเหนือ
  • ป้องกันการเกิดและลุกลามไฟป่าในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน ให้ได้ 10,000 ไร่ ภายใน ปี 2570
1,006 ผู้เข้าชม

เพาเวอร์อัพ (ประเทศไทย) จำกัด

ผู้ผลิต และให้บริการรถตุ๊กๆไฟฟ้าพัทธ์ รถตุ๊กๆที่ออกแบบเพื่อคนทั้งมวล ตุ๊กๆพัทธ์สามารถเข็นรถวีลแชร์ขึ้นบนตัวรถได้ ทำให้สะดวก และปลอดภัย ต่อผู้ใช้งาน ไม่ต้องยกหรืออุ้ม รวมถึงเป็นยานยนต์ไฟฟ้า ไม่ปล่อยมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และคงเอกลักษณ์ความเป็นตุ๊กๆไทยแลนด์ ได้เป็นอย่างดี

เพาเวอร์อัพ (ประเทศไทย) จำกัด

ผู้ผลิต และให้บริการรถตุ๊กๆไฟฟ้าพัทธ์ รถตุ๊กๆที่ออกแบบเพื่อคนทั้งมวล ตุ๊กๆพัทธ์สามารถเข็นรถวีลแชร์ขึ้นบนตัวรถได้ ทำให้สะดวก และปลอดภัย ต่อผู้ใช้งาน ไม่ต้องยกหรืออุ้ม รวมถึงเป็นยานยนต์ไฟฟ้า ไม่ปล่อยมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และคงเอกลักษณ์ความเป็นตุ๊กๆไทยแลนด์ ได้เป็นอย่างดี

1,862 ผู้เข้าชม

มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง

ตำบลผาปัง อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง เป็นพื้นที่ชนบทห่างไกลอยู่ในเขตการปกครองและพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่พริก(อบต.แม่พริก) ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน 485 ครัวเรือน มีราษฎรอาศัยอยู่จริงทั้งตำบล 988 คน มี 1 โรงเรียน 3 วัด 18 วิสาหกิจชุมชน 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน อาจกล่าวได้ว่าเป็นตำบลที่เล็กที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ ๆ ได้รับผลกระทบภัยพิบัติแล้งต่อเนื่อง จนทำให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานไปทำกินในที่ทำกินแห่งใหม่ และด้วยจำนวนประชากรน้อย จึงเป็นข้อจำกัดเชิงพื้นที่ ๆ ไม่มี อบต.เป็นของตนเอง ต้องไปรวมกับ อบต.แม่พริก ซึ่งเป็นตำบลใหญ่ ก่อให้เกิดข้อจำกัดทางการเมือง และการเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาด้วยความเสมอภาค เท่าเทียม เหลื่อมล้ำมาอย่างต่อเนื่อง และกลายเป็นนวัตกรรมสังคม ที่ก่อให้เกิดการ Disruption ทางสังคมใหม่ ตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมในรูปแบบใหม่ (New Social Movements :NSMs) เพิ่มปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่มีมาตั้งแต่อดีต     ด้วยความตะหนักถึงปัญหา และการแก้ปัญหาชุมชนตำบลผาปังอย่างยั่งยืน ในปี พ.ศ.2547 จึงเกิดการรวมตัวของภาคประชาชนตำบลผาปังในพื้นที่และนอกพื้นที่ จัดตั้ง"คณะกรรมการกำกับทิศทางการพัฒนาชุมชนตำบลผาปัง" เพื่อกำหนดแนวทางให้ชุมชนผาปังก้าวไปถึงขีดความสามารถในการพึ่งตนเองจากทรัพยากรฐานชีวภาพที่มีอยู่ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยใช้ประโยชน์จาก "ทุน" คน"ที่มีความรู้หลากหลายสาขา และทุนสิ่งแวดล้อม(แล้ง) ในตำบลผาปัง เพื่อเปลี่ยน "ภาระ" ให้เป็น "พลัง"ความร่วมมือ เปลี่ยน "หน้าที่" ตามโครงสร้างของภาครัฐให้เป็นสิ่งที่คนตำบลผาปังต้องทำ "น่าทำ" และเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงาน "กิจกรรม" ให้เป็น "กิจการ" โดยมีเป้าหมายเพื่อทำให้ชุมชนตำบลผาปังก้าวไปถึงขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองจากทรัพยากรฐานชีวภาพที่มีอยู่ในท้องถิ่นยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) ในปี พ.ศ.2556 ได้ยกระดับการบริหารจัดการชุมชน จัดตั้งเป็นองค์กรนิติบุคคล ประเภทองค์กรธุรกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคม ภายใต้ชื่อ มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ทะเบียนเลขที่ ลป 68 หมายเลขผู้เสียภาษี 0993000314361 เลขที่ตั้ง 33/3 หมู่ 3 ตำบลผาปัง อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการเครือข่ายชุมชนให้เกิดห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain  และห่วงโซ่คุณค่า Values Chain อย่างสอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคน พืช และสัตว์ ในตำบลผาปัง มาจนถึงปัจจุบันนี้

มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง

ตำบลผาปัง อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง เป็นพื้นที่ชนบทห่างไกลอยู่ในเขตการปกครองและพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่พริก(อบต.แม่พริก) ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน 485 ครัวเรือน มีราษฎรอาศัยอยู่จริงทั้งตำบล 988 คน มี 1 โรงเรียน 3 วัด 18 วิสาหกิจชุมชน 1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน อาจกล่าวได้ว่าเป็นตำบลที่เล็กที่สุดในประเทศไทย เป็นพื้นที่ ๆ ได้รับผลกระทบภัยพิบัติแล้งต่อเนื่อง จนทำให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานไปทำกินในที่ทำกินแห่งใหม่ และด้วยจำนวนประชากรน้อย จึงเป็นข้อจำกัดเชิงพื้นที่ ๆ ไม่มี อบต.เป็นของตนเอง ต้องไปรวมกับ อบต.แม่พริก ซึ่งเป็นตำบลใหญ่ ก่อให้เกิดข้อจำกัดทางการเมือง และการเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาด้วยความเสมอภาค เท่าเทียม เหลื่อมล้ำมาอย่างต่อเนื่อง และกลายเป็นนวัตกรรมสังคม ที่ก่อให้เกิดการ Disruption ทางสังคมใหม่ ตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมในรูปแบบใหม่ (New Social Movements :NSMs) เพิ่มปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่มีมาตั้งแต่อดีต     ด้วยความตะหนักถึงปัญหา และการแก้ปัญหาชุมชนตำบลผาปังอย่างยั่งยืน ในปี พ.ศ.2547 จึงเกิดการรวมตัวของภาคประชาชนตำบลผาปังในพื้นที่และนอกพื้นที่ จัดตั้ง"คณะกรรมการกำกับทิศทางการพัฒนาชุมชนตำบลผาปัง" เพื่อกำหนดแนวทางให้ชุมชนผาปังก้าวไปถึงขีดความสามารถในการพึ่งตนเองจากทรัพยากรฐานชีวภาพที่มีอยู่ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยใช้ประโยชน์จาก "ทุน" คน"ที่มีความรู้หลากหลายสาขา และทุนสิ่งแวดล้อม(แล้ง) ในตำบลผาปัง เพื่อเปลี่ยน "ภาระ" ให้เป็น "พลัง"ความร่วมมือ เปลี่ยน "หน้าที่" ตามโครงสร้างของภาครัฐให้เป็นสิ่งที่คนตำบลผาปังต้องทำ "น่าทำ" และเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงาน "กิจกรรม" ให้เป็น "กิจการ" โดยมีเป้าหมายเพื่อทำให้ชุมชนตำบลผาปังก้าวไปถึงขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองจากทรัพยากรฐานชีวภาพที่มีอยู่ในท้องถิ่นยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) ในปี พ.ศ.2556 ได้ยกระดับการบริหารจัดการชุมชน จัดตั้งเป็นองค์กรนิติบุคคล ประเภทองค์กรธุรกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคม ภายใต้ชื่อ มูลนิธิพัฒนาชุมชนผาปัง ทะเบียนเลขที่ ลป 68 หมายเลขผู้เสียภาษี 0993000314361 เลขที่ตั้ง 33/3 หมู่ 3 ตำบลผาปัง อำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการเครือข่ายชุมชนให้เกิดห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain  และห่วงโซ่คุณค่า Values Chain อย่างสอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคน พืช และสัตว์ ในตำบลผาปัง มาจนถึงปัจจุบันนี้

8,293 ผู้เข้าชม
441,098 ผู้เข้าชม